ทักษะการเงินไปสู่อิสรภาพการเงิน

ทักษะการเงินไปสู่อิสรภาพการเงิน

 

     

      หลังจากเราทราบแล้วว่าตนเองอยู่ในสถานการณ์การเงินแบบใด ต่อไปคือการเข้ากระบวนการวางแผนการเงินเพื่อไปสู่อิสรภาพการเงิน ในกระบวนการอาจจะจำเป็นต้องปรับสภาพคล่องให้เหมาะสม สร้างแผนสำรองเพื่อรองรับความไม่แน่นอนมีการปรับหรือตัดค่าใช้จ่ายผันแปร และบางครั้งอาจจะจำเป็นต้องปรับค่าใช้จ่ายคงที่ให้ลดลง หากจำเป็น

      ถ้าการปรับรายจ่ายลงแล้ว ยังมีเงินไม่เพียงพอ จำเป็นต้องหารายได้เพิ่ม ในเบื้องต้นการเพิ่มรายได้แนะนำให้พัฒนาความสามารถในงานเดิมเพื่อเพิ่มโอกาสในการมีรายได้เพิ่มก่อนจึงจะไปขั้นการค้นหาอาชีพที่ 2

      การเตรียมสร้างอาชีพที่ 2 ให้เกิดขึ้น นอกเหนือจากจะช่วยเพิ่มรายได้ในปัจจุบันแล้ว ยังเป็นการเตรียมทำอาชีพสำรองช่วงที่เรายังมีรายได้ประจำที่มั่นคงอยู่ ทักษะความชำนาญอาชีพที่ 2 อาจจะกลายเป็นรายได้หลักในอนาคตก็เป็นไปได้นอกจากนี้ ถ้ามีการถูกให้ออกจากงานกะทันหันอาชีพที่ 2 ช่วยให้เรายังคงมีอาชีพมีรายได้อยู่หรือทดแทนรายได้หลักกรณีเกษียณแล้วมีเงินออมไม่เพียงพอหลักเกษียณได้

กิจกรรมที่ต้องเข้ากระบวนการวางแผนการเงินของสถานะการเงินแต่ละแบบสรุปดังนี้

กระบวนการวางแผนการเงิน

พึ่งพาผู้อื่น

มีหนี้
ไม่มีเงินเก็บ

ไม่มีหนี้
ไม่มีเงินเก็บ

ไม่มีหนี้
เงินเหลือมาก

การเงินปลอดภัย

อิสรภาพ
การเงิน

ปรับโครงสร้างหนี้

x

 

 

 

 

 

บันทึกรายรับรายจ่าย

x

x

x

 

 

 

ปรับ/ตัดรายจ่าย

x

x

x

 

 

 

แบ่งประเภทรายจ่ายและทำงบประมาณรายจ่าย

x

x

x

 

 

 

เตรียมเงินสำรองฉุกเฉิน

x

x

x

x

 

 

วางแผนภาษี

x

x

x

x

 

 

วางแผนประกันภัย

x

x

x

x

 

 

วางแผนซื้อบ้านของครอบครัว

x

x

x

x

 

 

วางแผนการศึกษาบุตร วางแผนเกษียณอายุวางแผนดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

x

x

x

x

x

 

จัดพอร์ตลงทุนตามความเสี่ยงที่รับได้และเป้าหมายการเงิน

x

x

x

x

x

 

วางแผนภาษีมรดก

x

x

x

x

x

พัฒนาความสามารถในงานปัจจุบัน/ค้นหาอาชีพที่ 2 และการสร้างธุรกิจ

x

x

x

x

x

x

 

*เงินสภาพคล่อง คือ เงินที่พร้อมใช้ มักออมในบัญชีเงินฝากธนาคาร หรือกองทุนรวมตลาดเงิน ผลตอบแทนเฉลี่ย 0.5-1.8% ต่อปี ในขณะที่เงินเฟ้อเฉลี่ย 3-5%

 

 

อยากรู้เรื่องวางแผนการเงินเพิ่มเติม มาสัมมนากับเราสิ 

ลงทะเบียนสำรองที่นั่งสัมมนา เราจะแจ้งวันและสถานที่อีกครั้ง

 

  • ทำงาน 10 ปี ไม่มีเงินเก็บ แกะรอยเงินฉันหายไปไหน ทำงานมาหลายปี ไม่ได้ฟุ่มเฟือยอะไร เงินหายไปไหนหมด? อยากจะจัดการเงินให้เป็นระบบ จะเริ่มยังไงดี? ปัจจุบั...

  • หยุดกังวลเรื่องเงินอย่างไร? How to stop worry about money? เปลี่ยนมุมมองอย่างไรให้หายกังวล? เปลี่ยนพฤติกรรมอย่างไรให้จัดการเงินได้? ถ้าคุณกำลังมีความกังวลเกี่ยวกับเงิน ลองนั่งน...

  • ลงทุนอย่างไรให้ถึงเป้าหมาย? 1 ล้านแรกสร้างได้ไม่ยาก ล้านแรกสร้างได้...ล้านต่อไปจะตามมา การออมให้เงินเติบโตเป็น 1 ล้านบาทได้ สิ่งที่ต้องทำความเข้าใจคือ 1. ออมสม่ำเสมอต่อเนื่อง ลง...

  • เกษียณ...เตรียมเงินเท่าไรจึงจะพอ? ควรเตรียมเท่าไรก่อนเกษียณจึงจะมีอิสรภาพหลังเกษียณ? สำรวจแหล่งเงินได้หลังเกษียณมีเตรียมอะไรไว้แล้วบ้าง? “เงินไม่พอใช้หลังเกษียณ” เป็นปัญหาที่เกิด...

  • ปีหน้าเกษียณแล้ว เงินออมที่มีอยู่จะพอมั้ย? เงินที่ได้รับหลังเกษียณที่มีอยู่จะพอมั้ย? จะลงทุนอะไรดีให้เงินงอกเงย? หลายคนเริ่มตั้งคำถามนี้เมื่อใกล้ถึงวันเกษียณอย่างจริงจัง “เงินออมท...

  • ถ้าคุณไม่อยู่ คนข้างหลังจะอยู่อย่างไร? Family Protection หากวันนี้จากไป มีใครรับผิดชอบภาระค่าใช้จ่ายครอบครัวแทนได้บ้าง? หากวันนี้จากไป มีใครบ้างที่ได้รับผลกระทบ? เคยคิดไหมครับ…ถ...

  • วางแผนการเงิน ทำแล้วได้อะไร? เตรียมความพร้อมการเงิน เพื่อรักษาระดับมาตรฐานการครองชีพทุกช่วงของชีวิต ในยุคที่ชีวิตเร่งรีบ ค่าครองชีพสูง รายได้ไม่แน่นอน ต้องเพิ่มรายได้ให้มีหลายทา...

  • ทำไมต้องวางแผนการเงิน ใครเป็นแบบนี้บ้าง...เงินเดือนมากขึ้น ซื้อรถ ซื้อบ้าน ซื้อคอนโดฯ การแข่งขันสูงขึ้น จึงต้องส่งให้ลูกเรียนในสถาบันการศึกษาที่ติดอันดับ วันหยุดพาลูกเรียนพิเศ...

  • ตรวจสอบสถานการณ์เงิน สถานะการเงินที่มีโอกาสประสบปัญหาการเงินหรือกำลังมีปัญหาซึ่งจะพบคนรอบ ๆ ตัวเรามี4สถานการณ์ ได้แก่พึ่งพาการเงินผู้อื่น,มีหนี้ ไม่มีเงินเก็บ,ไม่มีหนี้แต่ไ...

  • การเงินมิติของอารมณ์ความรู้สึก สถานะการเงินเป็นอย่างไร นอกจากความรู้การเงินแล้ว สิ่งที่มีอิทธิพลสูงกว่าคือ ความเชื่อทางสังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม การถูกเลี้ยงดู และประสบการณ์ ส...

  • ชะตาชีวิตลิขิตได้ ไม่ว่าสถานการณ์การเงินปัจจุบันจะเป็นอย่างไรก็ตามไม่มีผิดไม่มีถูก ที่ผ่านมาเป็นเพียงปรากฏการณ์ มาทำความรู้จักกับกลไกธรรมชาติที่มีในทุกคน โดยธรรมชาติของ...

  • กระบวนการวางแผนการเงิน หลักการในกระบวนการวางแผนการเงิน ประกอบด้วย 3 เรื่องหลัก ๆ คือ รายได้ รายจ่าย และการลงทุนเมื่อทราบแล้วว่าเรามีสถานะการเงินแบบไหน เรามาเข้ากระบวนการที...

  • การควบคุมรายจ่าย กระบวนการวางแผนการเงินมีกลไกคุมรายจ่ายกันยังไง...ไม่ให้เพิ่มตามรายได้ หลายคนอาจจะยังไม่รู้ตัวว่ารายจ่ายเพิ่มตามรายได้ อาจจะรู้สึกชีวิตสะดวกสบายขึ้น หรือนับวันอ...

  • Budgeting เสาเข็มแรก การทำงบประมาณหรือ Budgeting ศัพท์ดูหรู ที่รู้จักในการทำงบประมาณรายจ่ายบริษัท ดูเป็นทางการทำให้หลายคนรู้สึกว่าไกลตัว การทำงบประมาณ เป็นกำหนดตัวเลขประมาณการท...

  • เงินสำรองฉุกเฉิน เงินสำรองฉุกเฉิน (Emergency Cash)เสาเข็มคู่เสาหลัก ถ้าเราเพิ่งเริ่มวางแผนการเงิน และยังไม่มีการกันเงินสำรองฉุกเฉินเลย แนะนำให้ตั้งเป้าหมายเตรียมเงินสำรองฉุกเฉิ...

  • กฎ 72 การหาระยะเวลาที่เงินจะเติบโตเป็น 2 เท่า ในอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดหรือคำนวณหาผลตอบแทนที่ต้องการเงินเติบโตเป็น 2 เท่าในระยะเวลาที่ต้องการ สูตร72/อัตราผลตอบแทนที่กำหนด ...

  • พลังดอกเบี้ยทบต้น “The most powerful force in the universe is compound interest.” พลังที่ทรงพลังมากที่สุดในจักรวาลคือพลังดอกเบี้ยทบต้น กล่าวโดย “อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์” ดอกเบ...